ค้นเจอ 70 รายการ

ประพนธ์

หมายถึงน. คำร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. ก. ประพันธ์, ร้อยกรอง, ผูก, แต่ง, เรียบเรียง; เกี่ยวเนื่อง. (ส. ปฺรพนฺธ; ป. ปพนฺธ).

อัษฎกฉันท์

หมายถึงน. ฉันท์ปัฐยาวัต.

เอกฉันท์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅

เอกฉัน, เอกะฉันท์ เป็นคำที่เขียนผิด ❌

จิตรปทา

หมายถึงน. ชื่อฉันท์ในวรรณพฤติ. (ป., ส.).

ดุษฎีสังเวย

หมายถึงน. บทร้อยกรองที่แต่งเป็นฉันท์สำหรับกล่อมช้าง.

ยติ

หมายถึงน. การหยุดเป็นจังหวะตามกำหนดในการอ่านฉันท์. (ป., ส.).

ชลจัณฑ์

หมายถึงน. นํ้าจัณฑ์ เช่น ชื่อชลจัณฑ์ ดุมุเมามน. (จิตรปทาฉันท์).

ตนุมัธยมา,ตนุมัธยา

หมายถึง[-มัดทะยะ-] น. ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง. (ส.; ป. ตนุมชฺฌา).

ชะวุ้ง

หมายถึงว. เป็นคุ้ง, คด, อ้อม, เช่น หว่างเวิ้งชะวุ้งศิขร. (กุมารคำฉันท์).

กมล

หมายถึงน. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).

มาตราพฤติ

หมายถึงน. ฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือ กำหนดคำในฉันท์แต่ละคำเป็นมาตราส่วน เช่น คำครุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๒ มาตรา คำลหุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๑ มาตรา.

กมลา

หมายถึง[กะมะ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ